April 16, 2024

ตัวอย่างการบันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้ ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ KPA

KPA ย่อมาจาก Knowledge Practice Attitude  หมายถึง เกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ประกอบด้วยการประเมินด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะและการปฏิบัติ (Practice) และด้านเจตคติหรือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) การประเมินจะแบ่งตามลักษณะของรายวิชาด้วยเครื่องมือที่แตกต่างกันไปเช่น การประเมินด้านความรู้ (K) จะนิยมใช้แบบทดสอบในการประเมิน ในขณะที่การประเมินด้านทักษะ (P) จะใช้ภาระงานหรือชิ้นงานมาประกอบกับเกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) มาประเมิน ส่วนด้านเจตคติ (A) จะใช้การประเมินตามสภาพจริงซึ่งมีความซับซ้อนกว่า 2 อย่างแรก

วันนี้มีตัวอย่างการบันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้ ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ KPA มาให้ดูเป็นแนวทางในการเขียนกัน

ขอบคุณที่มา คลิก